วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

วิชา ระบบฐานข้อมูล



บทที่6
ตอนที่ 1
1.เราสามารถนำข้อมูลจากโปรแกรมใดเข้ามาใน Access ได้
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
2.เราสามารถส่งออกข้อมูล Access ไปไว้ยังโปรแกรมประเภทใดได้บ้าง
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
3.ข้อใด กล่าวผิด ในเรื่องการเชื่อมโยงตารางข้อมูล
ตอบ ค.การเชื่อมโยงตารางข้อมุล
4.ในการบีบอัดฐานข้อมูลจะต้องใช้คำสั่งใด
ตอบ ก.Compact and Repair Database
5.ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวผิด
ตอบ ข.การกำหนดรหัสผ่านให้ฐานข้อมูลควรเปิดฐานข้อมูลแบบ Only
6.หากต้องการกำหนดรหัสผ่านให้กับฐานข้อมูลจะต้องใช้คำสั่งใด
ตอบ ก.Encrypt with Password
7.ถ้าต้องการยกเลิกรหัสผ่านให้กับฐานข้อมูลจะต้องใช้คำสั่งใด
ตอบ ข.Decrypt Database
8.การดูตัวอย่างก่อนพิมพ์สามารำทำได้ ยกเว้นข้อใด
ตอบ ค.คลิกเลือกมุมมอง Print Preview ในฟอร์ม
9.ถ้าต้องการกำหนดขนาดของกระดาษเป็นแนวนอนจะต้องใช้คำสั่งใด
ตอบ ข.Landspace
10.ถ้าเข้าสู่การพิมพ์เอกสารสามารถทำได้โดย
ตอบ ง.ถูกทุกข้อ
ตอนที่ 2
1.Import Database       .นำข้อมูลจาก Excel เข้ามาในโปรแกรม
2.Export Database       .นำข้อมูลจากAccessไปไว้ในExcel
3.compact and repair database     .ทำให้ฐานข้อมูลมีขนาดเล็กลง
4. Encrypt with Database   .กำหนดรหัสผ่านให้กับฐานข้อมูล
5. Decrypt Database     .ยกเลิกรหัสผ่านให้กับฐานข้อมูล
6.Landpace       .กำหนดกระดาษในแนวนอน
7.Portrain       .กำหนดกระดาษในแนวตั้ง
8.Margins        .กำหนดขอบกระดาษ
9.Size           .กำหนดขนาดของกระดาษ
10.PrintPreview    .ดูตัวอย่างก่อนพิมพ์เอกสาร

บทที่ 5 การสร้างรายงาน
ตอนที่ 1
1.ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้จัดอยู่ในประเภทของรายงาน
  ตอบ    ง.Chart
2.มุมมองของรายงานที่เพิ่มเข้ามาใหม่ใน Access2007 คือมุมมองใด
  ตอบ    ก.Layout View
3.Page Footer คือส่วนใด
  ตอบ   ค.ส่วนที่ต้องการแสดงผลข้อมูลให้ปรากฎอยุ่ที่ส่วนท้ายของทุกๆหน้ารายงาน
4.หลังจากแทรกชื่อเรื่อง (Title) ของรายงานแล้ว จะแสดงพื้นที่ส่วนใดของรายงานให้อัติโนมัติ
 ตอบ     ก.Report Header/Footer
5.ผลลัพธ์ในการสร้างรายงานแบบอัตโนมัติจะมีลักษณะของรายงานเป็นแบบใด
  ตอบ   ข.Tabular
6.ถ้าต้องการสร้างรายงานโดยให้มีการจัดกลุ่มของข้อมูลด้วย จะต้องสร้างรายงานด้วยวิธีใด
  ตอบ   ค.สร้างรายงานด้วยเครื่องมือช่วยสร้าง
7.ถ้าต้องการสรุปข้อมูลในรายงานโดยให้แสดงอยู่ที่ส่วนท้ายสุดของรายงานจะต้องกำหนดที่ตำแหน่งใด
  ตอบ  ค.Report Footer
8.ในการป้อนสูตรฟังก์ชั่นจะต้องใช่เครื่องมือใด
  ตอบ   ข.Text Box
9.ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการหาค่าเฉลี่ยของข้อมูล
  ตอบ   ง.Avg
10.ข้อใดต่อไปนี้เป็นการเขียนสูตรฟังก์ชั่นในการหาผลรวมของฟิลด์เงินเดือน
 ตอบ ข.=Sum([Salary])


ตอนที่ 2
1.Columnar Report    ซ.แสดงข้อมูลโดยเรียงฟิลด์แต่ละเรคคอร์ดจากบนลงล่าง
2.Tabular Report     จ.แสดงข้อมูลทุกเรคอร์ดใน 1 รายการ
3.Label Report       ฉ.พิมพ์ป้ายฉลากติดซองจดหมาย
4.Page Header        ญ.รายละเอียดในส่วนหัวรายงานที่แสดงทุกหน้าของรายงาน
5.Report Hrader      ข.รายละเอียดในส่วนหัวรายงานที่แสดงในหน้าแรก
6.Detail             ก.ส่วนในการแสดงฟิลด์ข้อมูลที่ดึงมาจากตาราง
7.Pages              ช.แสดงเลขหน้าทั้งหมด
8.Page               ค.แสดงเลขหน้าปัจจุบัน
9.Sum                ง.รวมข้อมูลทั้งหมด
10.Count             ฌ.นับจำนวนทั้งหม

ตอนที่ 3
1.การสร้างรายงานมีกี่แบบ อะไรบ้าง และแต่ละแบบมีประโยชน์อย่างไร
ตอบ    3 แบบ     1.รายงานแบบคอลัมน์ (Columnar Report) มีประโยชน์แสดงข้อมูลโดยเรียงฟิลด์แต่ละเรคอร์ดจากบนลงล่าง ทีละ 1 เรคอร์ด 
        2.รายงานแบบตาราง (Tabular Report) มีประโยชน์เป็นรายงานที่แสดงแบบแถวและคอลัมน์ซึ่งจะแสดงข้อมุลทุกเรคคอร์ดใน 1 หน้ารายงาน
      3.รายงานแบบป้ายชื่อ (Label Report) มีประโยชน์เป็นรายงานที่พิมพ์ฉลากต่างๆ
2.จงบอกถึงส่วนประกอบของรายงาน และแต่ละส่วนมีหน้าที่อะไร
  ตอบ  ประกอบด้วย 5 ส่วน
   1.Report Header เป็นส่วนที่ใช้แสดงข้อความหรือรายเอียดที่ต้องการแสดงในหน้าแรกของรายงาน
   2.Page Header เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในทุกๆหน้าของรายงาน
   3.Detail เป็นพื้นที่ในการแสดงข้อมูลที่ดึงมาจากฐานข้อมูล ทั้งในตารางและแบบสอบถามข้อมูล
   4.Page Footer เป็นพื้นที่ในส่วนท้ายของรายงาน เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในทุกๆหน้าของรายงาน
   5.Report Footer เป็นส่วนที่ใช้ในการแสดงข้อความหรือรายละเอียดที่ต้องการแสดงในหน้าสุดท้ายของรายงานเท่านั้น
3.  จงอธิบายขั้นตอนการสร้างรายงานแบบ Report Wizard
    ตอบ  1. คลิกที่แท็บ Create
             2.คลิกเลือก Report Wizard ในกลุ่มของ Reports
             3.เลือกตารางหรือแบบสอบถามข้อมูลที่ต้องการนำมาสร้างรายงาน
             4.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการ แล้วคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกทีละฟิลด์ หรือคลิกปุ่ม >> เพื่อนเลือกฟิลด์ทั้งหมด
            5.แล้วคลิกปุ่ม Next>
            6.เลือกข้อมูลที่ต้องการแสดงรายละเอียด
            7.แล้วคลิกปุ่ม Next>
            8.เลือกฟิลด์ที่ต้องการ แบ่งกลุ่มข้อมูล แล้วคลิกที่ปุ่ม >เพื่อเลือกฟิลด์
            9.แล้วคลิกปุ่ม Next>
           10.เลือกฟิลด์ที่ต้องการเรียงลำดับ ถ้าต้องการเรียงลำดับข้อมูลจากน้อยไปหามากให้คลิกที่ปุ่มAscendingและคลิกที่ปุ่มDescending  ถ้าต้องการเรียนจากมากไปหาน้อย
           11.แล้วคลิกปุ่ม Next>
           12. เลือกรูปแบบตำแหน่งการจัดวางรายงานที่ Layoutและที่OrientationเลือกแนวกระดาษเลือกPortraitสำหรับแนวตั้งและ Landscape สำหรับแนวนอน
           13.แล้วคลิกปุ่ม Next>
           14.เลือกสไตล์หรือรูปแบบรายงานที่ต้องการ
           15.แล้วคลิกปุ่ม Next>
           16.ตั้งชื่อรายงานที่ต้องการ และเลือกการแสดงผลรายงานในมุมมองตัวอย่างก่อนพิมพ์หรือมุมมองในการแก้ไขรายงาน
           17.แล้วคลิกปุ่ม Finish
4.อธิบายขั้นตอนการสร้างรายงานแบบ Label Wizard
   ตอบ  1. คลิกที่แท็บ Create
             2.เลือกตารางหรือแบบสอบถามข้อมูลที่ต้องการนำมาสร้างเลเบล
             3.คลิกที่ปุ่ม Labelsในกลุ่มของ Reports จากนั้นจะแสดงหน้าจอให้เลือกขนาดของเลเบล
             4.เลือกขนาดของแถบที่ต้องการ ซึ่งถ้าหารต้องการกำหนดขนาดของเลเบลใหม่ให้คลิกที่ปุ่ม Customizeแล้วกำหนดขนาดใหม่
             5.แล้วคลิกปุ่ม Next>
             6.กำหนดรูปแบบที่ต้องการแสดง
             7.แล้วคลิกปุ่ม Next>
             8.คลิกเลือกฟิลด์ที่ต้องการแสดงในเลเบล โดยคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกข้อมูล ซึ่งถ้าหากต้องการเว้นวรรคในแต่ละฟิลด์ ให้กดปุ่ม Spacebar ที่แป้นพิมพ์ และถ้าต้องการขึ้นบรรทัดใหม่ก็สามารถกดปุ่ม Enterได้
             9.แล้วคลิกปุ่ม Next>
           10.เลือกฟิลด์ที่ต้องการเรียงลำดับข้อมูลใน เลเบล โดยคลิกปุ่ม > เพื่อเลือกฟิลด์ข้อมูล
           11.แล้วคลิกปุ่ม Next>
           12.ตั้งชื่อรายงานและเลือกการแสดงผล เลเบล ในมุมมองตัวอย่างก่อนพิมพ์หรือมุมมองในการแก้ไขเลเบล
           13.แล้วคลิกปุ่ม Finish
5.จงบอกถึงข้อดีและข้อเสียของรายงานแบบอัตโนมัติ
 ตอบ    ข้อดี
             -สะดวกรวดเร็ว     สามารถคำนวณข้อมูลได้    สามารถพิมพ์ออกมาได้
            ข้อเสีย
             -สะดวกรวดเร็ว    ไม่สามารถแก้ไขข้อมูลในตารางได้ในขณะที่พิมพ์ออกมาได้แบบฟอร์ม

02/08/54

แบบฝึกหัดบทที่ 4 การสร้างฟอร์ม (Form)
1.ความหมายของฟอร์ม (Form)     
    
ตอบ  คือ  หน้าจอสำหรับติดต่อกับผู้ใช้งาน ที่สร้างขึ้นมาเพื่อนช่วยให้ผู้ใช้ทำงานกับข้อมูลในตารางได้สะดวกกว่าการใช้มุมมองแผ่นตารางข้อมูล (Datasheet View) และยังช่วยเพิ่มความสวยงามให้กับแอปพลิเคชั่นที่ได้สร้างขึ้นมาอีก

2.ประเภทของฟอร์มมีกี่แบบ อะไรบ้าง
ตอบ    มี 5 แบบ   คือ  1.ฟอร์มแบบคอลัมน์ (Columnar Form) หรือฟอร์มเดี่ยว ซึ่งเป็นฟอร์มที่แสดงข้อมูล หนึ่งเรดคอร์ดต่อหนึ่งหน้าของฟอร์ม
2.ฟอร์มแบบตาราง(Tabular Form) เป็นฟอร์มที่แสดงข้อมูลทุกเรดคอร์ด
3.ฟอร์มแบบแผ่นตารางข้อมูล (Datasheet Form) เป็นฟอร์มที่แสดงทุกเรดคอร์ดในลักษณะแผ่นตาราง เช่นเดียวกับตาราง (Table)
4.ฟอร์มแบบตารางสรุปข้อมูลหลายมิติ(Pivot Table Form) เป็นฟอร์มที่ใช้แสดงข้อมูลหลายมิติหรือหลายฟิลด์ ทำให้สามารถดูข้อมูลได้ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น
5.ฟอร์มแบบแผนภูมิสรุปข้อมูลหลายมิติ(Pivot Chart Form) เป็นฟอร์มที่ใช้แสดงข้อมูลในลักษณะแผนภูมิ ซึ่งสามารถดูข้อมูลได้หลายฟิลด์ที่ต้องการ
3.มุมมองของฟอร์มมีกี่มุมมอง อะไรบ้าง
ตอบ     3 มุมมอง คือ  1.มุมมองเค้าโครง (Layout View) เป็นมุมมองใหม่ที่เพิ่มเข้ามาในAccess 2007 ซึ่งคล้ายกับมุมมองการออกแบบตรงที่สามารถจัดรูปแบบของฟอร์มได้ในบางส่วน เช่น การกำหนดสี ปรับขนาดอักษร ปรับขนาดฟิลด์ เป็นต้น แต่แสดงข้อมูลคล้ายในมุมมองฟอร์ม
2.มุมมองการออกแบบ (Design View) เป็นมุมมองสำหรับสร้างและออกแบบฟอร์ม
3.มุมมองฟอร์ม (Form View) เป็นมุมมองในการแสดงผลข้อมูลและใช้งานฟอร์ม ซึ่งไม่สามารถแก้ไขฟอร์มได้
4.เครื่องมือที่ใช้ในการจัดรูปแบบฟอร์มมีอะไรบ้าง
ตอบ      10 รูปแบบ คือ      1. ปุ่ม Form (ฟอร์มแบบคอลัมน์) เป็นคำสั่งแสดงข้อมูลทีละ 1 เรคคอร์ด
         2. ปุ่ม Split Form (ฟอร์มแยก) สามารถเห็น 2 มุมมองในเวลาเดียวกัน คือมุมมองฟอร์มและมุมมองแผ่นตารางข้อมูล แสดงรายการของเรคคอร์ดทั้งหมด
        3. ปุ่ม Multiple Items (หลายรายการ) สร้างฟอร์มแบบตาราง
        4. ปุ่ม PivotChart เป็นการสร้างแผนภูมิ เพื่อสรุปผลข้อมูลแบบหลายมิติ
        5. ปุ่ม From Wizard (ฟอร์มเพิ่มเติม-->ตัวช่วยสร้างฟอร์ม) ใช้เครื่องมือช่วยสร้างฟอร์มที่ เรียกว่า วิซาร์ด ทำให้การสร้างฟอร์มง่ายและเร็วยิ่งขึ้น
       6. ปุ่ม Datasheet (แผ่นข้อมูล) สร้างฟอร์มในรูปแบบแผ่นตารางข้อมูล แสดงได้หลายเรคคอร์ดต่อ 1 หน้า สะดวกในการใช้งานกับแป้นพิมพ์ แต่ไม่สามารถสร้างปุ่มคำสั่งบนฟอร์มได้
      7. ปุ่ม Modal Dialog (กล่องโต้ตอบ) สร้างฟอร์มในลักษณะไดอะล็อกบ็อกซ์ มีการกำหนดคุณสมบัติแบบ Popup และมีปุ่มในการทำงานให้อัตโนมัติ
     8. ปุ่ม PivotTable สำหรับสร้างตารางสรุปข้อมูล
     9. ปุ่ม Blank Form (ฟอร์มเปล่า) สร้างฟอร์มเปล่าด้วยการออกแบบเอง จะเข้าสู่การสร้างในมุมมองเค้าโครง(Layout View)
   10. ปุ่ม Form Design (ออกแบบฟอร์ม) สร้างฟอร์มเปล่าด้วยการออกแบบเอง



05/07/54
ตอนที่ 1 แบบปรนัย
1. ข้อใด ไม่ใช่ ความสามารถของคิวรี่
ตอบ        . สร้างตารางเก็บข้อมูล
2. แบบสอบถามข้อมูลใดที่นิยมใช้งานมากที่สุด
ตอบ        . Select Query
3. ถ้าต้องการปรับเพิ่มเงินเดือนให้กับพนักงานคนละ 10 เปอร์เซ็นต์เท่า ๆ กัน จะต้องให้แบบสอบถาม
ตอบ        . Update Query
4. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ โอเปอเรเตอร์ทางคณิตศาสตร์
ตอบ        .  >
5. โอเปอเรเตอร์ตัวใดต่อไปนี้ใช้แทนตัวอักขระใด ๆ
ตอบ       .  *
6. โอเปอเรเตอร์ตัวใดต่อไปนี้ใช้ในการเชื่อมข้อความ
ตอบ      .  &
7. ถ้าต้องการกำหนดเงื่อนไขในแบบสอบถามข้อมูล จะต้องกำหนดที่บรรทัดใด
ตอบ        . Criteria
8. ถ้าต้องการกำหนดเงื่อนไขในการค้นหาพนักงานที่มีเงินเดือนตั้งแต่ 50,000 บาทขึ้นไป จะต้องกำหนดเงื่อนไขอย่างไร
ตอบ      . >=50,000
9. ข้อใดคือรูปแบบในการสร้างฟิลด์ใหม่
ตอบ       . ชื่อฟิลด์ใหม่ : ฟิลด์คำนวณ
10. ข้อใดต่อไปนี้คือสูตรในการหาภาษี 5%
ตอบ        . Tax : [Salary]*0.05 
ตอนที่ 2 จับคู่
1...... Select Query          . กำหนดเงื่อนไขในการค้นหาข้อมูล
2...... Crosstab Query      . ใช้ในการเพิ่มข้อมูลต่อท้ายตารางเดิม
3...... Update Query         . ใช้ตรวจสอบอักขระว่าตรงกับที่กำหนดหรือไม่
4...... Append Query        . ค้นหาข้อมูลที่ไม่ซ้ำกันใน 2 ตาราง
5......Delete Query          . ใช้ปรับปรุงข้อมูลตามเงื่อนไข
6...... Criteria                 . ใช้สอบถามข้อมูลในตาราง
7...... Like                      . ค้นหาข้อมูลที่ซ้ำกันในตาราง
8...... In                         ซ. ใช้สอบถามข้อมูลที่มีความสัมพันธ์ระหว่างฟิลด์
9...... Find Duplicates Query Wizard     . ใช้ในการลบข้อมูลตามเงื่อนไข
10...... Find Unmatched Query Wizard   ญ. ใช้ในการกำหนดว่ามีค่าใดบ้างตรงกับค่าในรายการ

ตอนที่ 3 แบบอัตนัย

1. จงบอกถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างแบบสอบถามข้อมูลหรือคิวรี่
ตอบ   ประโยชน์การสร้างตารางในการจัดเก็บข้อมูลแล้ว เมื่อต้องการค้นหาข้อมูลใด ๆ ในตาราง ก็สามารถสร้างแบบสอบถามข้อมูลหรือคิวรี่ (Query) เพื่อค้นหาข้อมูลได้ และยังสามารถสร้างฟิลด์ข้อมูลขึ้นมาใหม่และคำนวณได้อีกด้วย

2. จงบอกขั้นตอนในการสร้างแบบสอบถามข้อมูลด้วยมุมมองการออกแบบ
ตอบ   สามารถสร้างได้ดังขั้นตอนต่อไปนี้
1. คลิกที่แท็บ Create
2. คลิกที่ปุ่ม (Query Design) ที่กลุ่มของ Other
3. คลิกเลือกชื่อตาราง
4. คลิกปุ่ม Add จากนั้นทาตามขั้นตอนที่ 3 – 4 จนครบทุกฟิลด์ (หรือดับเบิ้ลคลิกที่ชื่อตาราง)
5. คลิกปุ่มClose
6. ดับเบิ้ลคลิกที่ชื่อฟิลด์ที่ต้องการจนครบทุกฟิลด์ หลังจากนั้นจะแสดงชื่อฟิลด์ที่เลือกในช่องด้านล่าง โดยแต่ละแถวมีการทางานดังต่อไปนี้
  - ที่ Field: แสดงชื่อฟิลด์ที่เลือก
  - ที่ Table: แสดงชื่อตารางของฟิลด์ที่เลือก
  - ที่ Sort: กำหนดการเรียงลาดับของข้อมูลในฟิลด์
  - ที่ Show: แสดงข้อมูลในฟิลด์นี้หรือไม่ ถ้าไม่เลือกจะไม่แสดงข้อมูลในฟิลด์นี้
  - ที่ Criteria: กำหนดเงื่อนไขของฟิลด์ในค้นหาข้อมูล
  - ที่ Or: กำหนดเงื่อนไขเพิ่มเติม กรณีที่มีมากกว่า 1 เงื่อนไข 

3. การสร้างแบบสอบถามข้อมูลด้วยเครื่องมือช่วยสร้าง (Query Wizard) มีกี่แบบ และแต่ละแบบมีประโยชน์อย่างไร
ตอบ  การสร้างด้วยวิซาร์ดมีด้วยกัน 4 แบบคือ
1. Simple Query Wizard มีประโยชน์ในการสร้างแบบสอบถามข้อมูลอย่างง่าย
2. Crosstab Query Wizard มีประโยชน์ในการแสดงข้อมูลในรูปแบบกราฟและในลักษณะของตารางไขว้
3. Find Duplicates Query Wizard มีประโยชน์เพื่อค้นหาข้อมูลที่ซ้ำกันในตาราง
4. Find Unmatched Query Wizard มีประโยชน์เพื่อค้นหาข้อมูลที่ไม่ซ้ำกันใน 2 ตาราง
4. จงอธิบายขั้นตอนในการสร้างแบบสอบถามข้อมูลด้วย Simple Query Wizard
ตอบ   การสร้างแบบสอบถามข้อมูลด้วย Simple Query มีขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. คลิกที่แท็บ Create
2. คลิกที่ปุ่ม (Query Wizard) ที่กลุ่มของ other
3. เลือก Simple Query Wizard
4. คลิกปุ่ม OK
5. เลือกชื่อตาราง
           6. เลือกชื่อฟิลด์ที่ต้องการโดยคลิกปุ่ม  เพื่อเลือกทีละฟิลด์ หรือคลิกปุ่ม   เพื่อเลือกทุกฟิลด์ของตาราง (ถ้าต้องการมากกว่า 1 ตารางให้ทาขั้นตอนที่ 5 และ 6 ซ้ำอีกครั้งหนึ่ง)
7. คลิกปุ่ม Next>
8. ตั้งชื่อแบบสอบถามข้อมูล
9. คลิกปุ่ม Finish 

5. จงอธิบายความหมายและหลักการสร้างแบบสอบถามข้อมูลด้วย
Crosstab Query Wizard
ตอบ   การสร้างแบบสอบถามข้อมูล Crosstab Query Wizard เป็นการสร้างแบบสอบถามข้อมูลที่สอบถามความสัมพันธ์ระหว่างฟิลด์ 2 ฟิลด์หรือมากกว่า 

24/06/54
ตอนที่ 1 
1.ข้อใดกล่าวถึงความหมายของตาราง (Table) ได้ชัดเจนที่สุด
ตอบ     ก. ฐานข้อมูลใน Access
2.ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวผิด
ตอบ   ง. Attachment เป็นชนิดข้อมูลสาหรับสร้างจุดเชื่อมโยงไปยังไฟล์
3.ฟิลด์ (Field) หมายถึงอะไร
ตอบ  ค. คอลัมน์
4.เรคอร์ด (Record) หมายถึงอะไร
ตอบ   ข. แถว
5.ชนิดข้อมูลแบบข้อความ (Text) สามารถเก็บข้อมูลได้สูงสุดกี่ตัวอักษร
ตอบ    ค. 255
6.ถ้าต้องการกำหนดฟิลด์ในการเก็บข้อความจำนวนมากๆ จะต้องเลือกชนิดข้อมูลแบบใด
ตอบ   ก. Memo
7.มุมมองที่ใช้ในการสร้างตารางด้วยการออกแบบเองคือมุมมองใด
ตอบ  ก. Design View
8.ชนิดความสัมพันธ์ของตารางมีกี่แบบ
ตอบ     ค. 255
9.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่สามารถ นามาประกอบในการตั้งชื่อฟิลด์ข้อมูลได้
ตอบ    ค. 4 แบบ
10.ถ้าต้องการเรียงลาดับข้อมูลในตารางจากน้อยไปหามาก จะต้องใช้เครื่องมือใด
ตอบ  ก. Ascending


ตอนที่ 2   
1. Field                 . ข้อมูลในแนวคอลัมน์
2. Record              . ข้อมูลในแนวแถว
3. Memo               . เก็บข้อมูลประเภทข้อความที่มีความยาวมาก ๆ
4. OLE Object       . เก็บข้อมูลประเภทรูปภาพ
5. Currency           . เก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขทางการเงิน
6. Attachment       . เก็บเอกสารและแฟ้มไบนารี่ทุกชนิดในฐานข้อมูล
7. Input Mask         . กำหนดรูปแบบในการป้อนข้อมูล
8. Format             . กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล
9. Descending       . เรียงลาดับข้อมูลจากมากไปหาน้อย
10. Ascending       . เรียงลาดับข้อมูลจากน้อยไปหามาก

ตอนที่ 3 
1.  จงอธิบายถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างตาราง
ตอบ   การสร้างตารางมีประโยชน์มหาศาลเราสามารถนำมาประยุกต์นำไปใช้ได้หลายอย่าง เพื่อเป็นการนำตารางมาใช้ในการทำงานข้อฐานข้อมูลและเป็นการลดความซ้ำซอนของข้อมูล
2.   จงบอกถึงคุณสมบัติในการเลือกฟิลด์ข้อมูลที่จะนำมาเป็นคีย์หลัก (Primary Key)
ตอบ   ฟิลด์ที่มีข้อมูลในเรคอร์ดที่ไม่ซ้ำกัน เพื่อเป็นตัวกำหนดให้ทุกเรคอร์ดแตกต่างกันและเป็นฟิลด์ที่ไม่เป็นค่าว่าง คือจะต้องมีค่าอยู่เสมอ เช่นรหัสพนักงาน รหัสประจาตัวนักเรียน เป็นต้น
3.   อธิบายถึงความแตกต่างในการสร้างตารางด้วยมุมมองการออกแบบ (Table Design) และมุมมองแผ่นตารางข้อมูล (Datasheet View)
ตอบ   มุมมองแผ่นข้อมูล เป็นมุมมองที่แสดงข้อมูลจากตาราง ฟอร์ม แบบสอบถาม วิว หรือ Stored Procedure ในรูปแบบของแถวและคอลัมน์ในมุมมองแผ่นข้อมูล คุณสามารถแก้ไขเขตข้อมูล เพิ่มและลบข้อมูล และค้นหาข้อมูลได้
มุมมองออกแบบ เป็นมุมมองที่แสดงการออกแบบของวัตถุฐานข้อมูลต่อไปนี้ ได้แก่ ตาราง แบบสอบถาม ฟอร์ม รายงาน และแมโครในมุมมองออกแบบคุณสามารถสร้างวัตถุฐานข้อมูลใหม่และปรับเปลี่ยนการออกแบบของวัตถุที่มีอยู่แล้วได้
4.  จงบอกขั้นตอนในการสร้างตารางมุมมองการออกแบบว่ามีขั้นตอนอย่างไร
ตอบ   1. คลิกที่แท็บ Create
         2. เลือกปุ่มคาสั่ง (Table Design) ในกลุ่มของ Tables จากนั้น Access จะเปิดตารางข้อมูลเปล่าในมุมมองการออกแบบขึ้นมาให้
3. กำหนดฟิลด์ข้อมูล แล้วกด Tab เพื่อเลื่อนไปยังช่องถัดไป
4. เลือกชนิดข้อมูล
5. กำหนดคาอธิบายฟิลด์
6. กำหนดคุณสมบัติของฟิลด์เพิ่มเติม จากนั้นทาข้อที่ 3 ถึงข้อที่ 6 จนครบทุกฟิลด์ที่ต้องการ
7. คลิกปุ่ม Save จาก Quick Access เพื่อบันทึกตาราง
8. กำหนดชื่อตาราง
9. คลิกปุ่ม OK
    10. จากนั้นจะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ให้กำหนดคีย์หลัก (Primary Key) ถ้าคลิกปุ่ม Yes โปรแกรมจะกำหนดฟิลด์ใหม่ขึ้นมาให้ซึ่งเป็นคีย์หลักชื่อว่า ID แต่ถ้าคลิกปุ่ม No จะให้เรากำหนดคีย์หลักเองในภายหลัง ในที่นี้ให้คลิกปุ่ม No
5.ในการสร้างตารางแม่แบบ (Template) มีข้อดีและข้อเสียอย่างไร
ตอบ       ข้อดี  คือ สามารถสร้างฐานข้อมูลได้รวดเร็วเขียนครั้งเดียวแต่ใช้งานได้หลายครั้งป้องกันปัญหาการแก้ไขข้อมูลซ้ำซ้อนและสะดวกสำหรับการตรวจสอบ
       ข้อเสีย คือ เป็นรูปแบบที่ตายตัวและถ้ามีการแก้ไขหมวดหมู่ในแม่แบบหมวดหมู่ที่ปรากฏในบทความที่อ้างจากแม่แบบจะไม่มีการแก้ไขนอกจากบทความบทความนั้นไ้ด้ทำการแก้ไขหลังจากแก้ไขหมวดหมู่แล้ว

แบบฝึกหัด บทที่1

     ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน และนำมาจัดเก็บในที่เดียวกัน
     ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง ระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน เกี่ยวข้องเป็นเรื่องเดียวกัน รูปแบบเป็นระเบียบแบบแผน และจัดเก็บไว้ในที่เดียวกัน
     ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMSDatabase Management System หมายถึง โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะข้อมูลที่จะเก็บไว้ในฐานข้อมูล เพื่ออำนวยความ สะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล   เสมือนเป็นตัวกลางระหว่าง ผู้ใช้กับฐานข้อมูล

สรุปหน่วยการเรียนรู้ที่ 1
ความหมายของฐานข้อมูล (Database)
   ฐานข้อมูล   หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันและนำมาจัดเก็บในที่เดียวกัน  
   ระบบฐานข้อมูล    หมายถึง  ระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน เกี่ยวข้องเป็นเรื่องเดียวกัน
รูปแบบเป็นระเบียบแบบแผน และจัดเก็บไว้ในที่เดียวกัน
   ระบบจัดการฐานข้อมูล    หมายถึง  โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะ ข้อมูลที่จะเก็บไว้ในฐานข้อมูล เพื่ออำนวยความสะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล   
ประโยชน์ของฐานข้อมูล
·        ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล 
·        ความสอดคล้องของข้อมูล
·        ข้อมูลมีความถูกต้องมากขึ้น 
·        มีการใช้ข้อมูลร่วมกันได้ 
·        เพิ่มความปลอดภัยให้กับข้อมูล 
·        ขจัดความขัดแย้งในการใช้ข้อมูลร่วมกัน
·        ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย
ข้อเสียของฐานข้อมูล
     1.    เสียค่าใช้จ่ายสูง โปรแกรมที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล มีราคาค่อนข้างแพงเครื่องคอมพิวเตอร์ต้องมีความเร็วสูง                                                 
     2. เกิดการสูญเสียข้อมูลได้ ข้อมูลจัดเก็บในที่เดียวกัน ถ้าที่เก็บข้อมูลเกิดมีปัญหา อาจทำให้ต้องสูญเสียข้อมูลทั้งหมดในฐานข้อมูลได้ ดังนั้นการจัดทำฐานข้อมูลที่ดี ต้องมีการสำรองข้อมูลไว้เสมอ
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
1.              วัตถุประสงค์ในการสร้างระบบฐานข้อมูล
2.              ต้องการใช้เพื่อทำอะไร และต้องการอะไรบ้างจากระบบนี้
3.              ถามความต้องการของผู้ใช้ ต้องการข้อมูลอะไรเข้าสู่ระบบ และผลลัพธ์ต้องการอะไรบ้าง
4.              วิเคราะห์และรวบรวมข้อมูลที่จำเป็นทั้งหมด
5.              จัดกลุ่มข้อมูลที่ต้องการเก็บให้อยู่ในรูปแบบตาราง
6.              วิเคราะห์ข้อมูลแต่ละตาราง กำหนดเขตข้อมูลให้ครบถ้วน
7.              พิจารณาเขตข้อมูลหลักหรือฟิลด์หลัก (Primary Key)  ของแต่ละตาราง
8.              วิเคราะห์โครงสร้างข้อมูลที่ได้ตามหลักการ Normalization
9.              กำหนดชนิดข้อมูล ที่ต้องการเก็บว่าอยู่ในรูปแบบใด
10.       กำหนดความสัมพันธ์ของข้อมูลในฐานข้อมูล
11.       ออกแบบหน้าจอการใช้งาน
ระดับหน่วยของข้อมูล
·        บิท (Bit)  หมายถึง  หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด
·        ไบท์ (Byte) หมายถึง เกิดจากการนำบิทมารวมกันเป็นตัวอักษร
·        เขตข้อมูล หรือ ฟิลด์ (Field) หรือ แอตทริบิวต์ (Attribute)หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่ประกอบด้วยหลาย ๆ ตัวอักษร
·        ระเบียน หรือ เรคอร์ด (Record)  หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำเอาเขตข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมูลมารวมกัน
·        แฟ้มข้อมูล (File) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำระเบียนหรือเอนทิตี้หลาย ๆ ระเบียนมารวมกันเป็น
กฎการ Normalization
กฎการ Normalization เป็นกฎที่ใช้ในการออกแบบตาราง เพื่อลดความซ้ำซ้อน แก้ไขตารางได้ง่าย และถ้าเปลี่ยนแปลงข้อมูล จะมีผลกระทบต่อข้อมูลอื่นน้อยที่สุด โดยทั่วไปแล้ว เราใช้กฎ Normalization เพียง 3 ข้อก็เพียงพอในการออกแบบตารางโดยทั่วไปแล้วจากรายละเอียดทั้งหมด 4 ข้อดังนี้
1. กฎข้อที่ 1 (First Normal Form: 1NF) เป็นความสัมพันธ์หนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-One Relationships)
2. กฎข้อที่ 2 (Second Normal Form: 2NF) ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-Many Relationships)
3. กฎข้อที่ 3 (Third Normal Form: 3NF) ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-Many Relationships)
4. กฎข้อที่ 4 บอยส์และคอดด์ (Fourth Normal Form)(Boyce/Codd Normal Form : BCNF)  จะต้องไม่มีการขึ้นต่อกันแบบเชิงกลุ่ม

ตอนที่1
1.ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) คืออะไร
ข.ตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล
2.หลังจากที่สร้างฐานข้อมูลแล้ว จะต้องสร้างออบเจ็กต์ใดเป็นอันดับแรก
ก.Table
3.ออบเจ็กต์ใดที่ทำหน้าที่ในการเก็บข้อมูลทั้งหมดลงฐานข้อมูล
ค.Form
4.ออบเจ็กต์ Query มีหน้าที่ทำอะไร
ค.สร้างแบบสอบถามข้อมูล
5.ข้อใดต่อไปนี้เป็นหน้าที่ของออบเจ็กต์ Form
ข.เก็บข้อมูลลงฐานข้อมูล
6.ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ กฎของการ Normalization
ข.จะต้องมีความสัมพันธ์แบบเชิงกลุ่ม(Many to Many)
7.ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ที่ได้รับของระบบฐานข้อมูล
ค.ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย
8.ขั้นตอนใดต่อไปนี้เป็นขั้นตอนแรกในการออกแบบฐานข้อมูล
ก.กำหนดวัตถุประสงค์ในการใช้งาน
9.ส่วนประกอบต่อไปนี้เพิ่มเข้ามาใหม่ใน Access 2007 ยกเว้น ข้อใด
ง.Ribbon
10.ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวผิด
ก.เมื่อบันทึกฐานข้อมูลในAccsee 2007จะมีนามสกุลเป็น.accdb
ตอนที่ 2
1. DBMS               ช.ระบบจักการฐานข้อมูล
2. Normlization               จ.กฎที่ใช้ในการออกแบบตาราง
3. Office Botton               ซ.ปุ่มที่รวบรวมชุดคำสั่งในการจัดการฐานข้อมูล
4. Quick Access Toolbar               ญ.แถบเครื่องมือที่รวบรวมเครื่องมือที่ใช้งานบ่อยๆ
5. Ribbon                ฌ.ส่วนการทำงานใหม่ที่เข้ามาแทนที่แถบเมนูและแถบเครื่องมือ
6. Navigation Pane                 ก.แถบในการแสดงออบเจ็กต์ที่สร้างขึ้น
7. Document Window               ค.ส่วนของพื้นที่การทำงานของออบเจ็กต์ต่างๆ
8. Query                    ข.แบบสอบถามข้อมูล
9. Macro                   ง.ชุดคำสั่งกระทำการต่างๆ ที่นำมารวมกัน
10. Module                ฉ .โปรแกรมย่อยที่เขียนขึ้นภาษา VBA
ตอนที่ 3
1.จงอธิบายถึงความหมายของฐานข้อมูล
ตอบ  ฐานข้อมูล คือข้อมูลจำนวนมากที่มีการจัดเก็บไว้ต่างเป็นระเบียนในลักษณะของตารางข้อมูลแต่ละตารางที่มีอยู่นั้นมีความสัมพันธ์กัน
2.ระบบฐานข้อมูลมีประโยชน์อย่างไรบ้าง
ตอบ     1. ลดความซับซ้อนของข้อมูล      2. ทำให้เกิดความสอดคล้องข้อมูล
3. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้      4. มีความปลอดภัย
3.ใน Microsoft Access 2007 ประกอบไปด้วยออบเจ็กต์อะไรบ้าง และมีหน้าที่อย่างไร
ตอบ    1. Table ใช้ในการเก็บข้อมูลทั้งหมด        2. Queries ช่วยค้นหาหรือสร้างแบบสอบถามข้อมูล
3. Forms แบบฟอร์มในการทำงาน สำหรับจัดการกับข้อมูลแทนการจัดการในตาราง     
4. Reports ใช้ในการสร้างรายงาน        5. Modules ช่วยให้ทำงานกับข้อมูลที่ซับซ้อนมากขึ้นได้
4.จงอธิบายหลักการออกแบบฐานข้อมูลมาพอเข้าใจ
ตอบ    กำหนดวัตถุประสงค์ว่าต้องใช้ข้อมูลเรื่องใด ใช้เพื่อทำอะไร ต้องการอะไร สอบถามความต้องการจากผู้ใช้ วิเคราะห์ข้อมูลที่จำเป็นจัดกลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลแต่ละตาราง วิเคราะห์โครงสร้างข้อมูล กำหนดชนิดข้อมูล กำหนดความสัมพันธ์
5.จงยกตัวอย่างระบบงานที่ควรนำ ระบบฐานข้อมูลมาใช้จงอธิบายเหตุผล
ตอบ    ข้อมูลพนักงาน มีพนักงานในบริษัทแต่ล่ะบริษัทมีพนักงานไม่ต่ำกว่า500คนเราจิงต้องเอา ระบบฐานข้อมูลมาใช้ในการจัดเรียงรายชื่อพนักงาน เช่น ตามตัวอักษร ตามตำแหน่งงาน ตามเงินเดือน เป็นต้น

1 ความคิดเห็น:

  1. ตรวจแบบฝึกหัดบทที่ 1 ตอนที่ 1 แบบปรนัย ถูก 5 ข้อ
    ตอนที่ 2 แบบจับคู่ ถูกทุกข่้อ

    ตอบลบ